Skip to content
  • นักลงทุนสัมพันธ์
  • ความยั่งยืนองค์กร
  • ข่าวสารและกิจกรรม
  • บทความ
  • ติดต่อเรา
  • TH
  • EN
  • สินเชื่อ
        • มีหลักประกัน

          • สินเชื่อทะเบียนรถจักรยานยนต์
          • สินเชื่อทะเบียนรถยนต์ทุกประเภท
          • สินเชื่อทะเบียนรถเพื่อการเกษตร
          • สินเชื่อโฉนดที่ดิน/บ้าน/คอนโด
        • ไม่มีหลักประกัน

          • สินเชื่อส่วนบุคคล/ส่วนบุคคล(ทั่วไป)
          • สินเชื่อนาโนไฟแนนซ์
          • สินเชื่อเช่าซื้อรถจักรยานยนต์
          • สินเชื่อเพย์ เลเทอร์ สินค้าทั่วไป
          • สินเชื่อเพย์ เลเทอร์ สินค้าเกษตร
  • ประกันและพรบ.
          • ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล (PA)
          • จำหน่ายพ.ร.บ. รับต่อภาษี
  • คำนวณค่างวด
          • คำนวณค่างวดจากประเภทสินเชื่อ
          • คำนวณค่างวด
  • ค้นหาสาขา
  • คำถามที่พบบ่อย
  • นักลงทุนสัมพันธ์
  • ความยั่งยืนองค์กร
  • ข่าวสารและกิจกรรม
  • บทความ
  • ติดต่อเรา
  • TH
  • EN
เลือกภาษา
th en
ติดตามเรา
1455
ค้นหาสาขา

บทความ

สาระความรู้การบริหารจัดการหนี้ไลฟ์สไตล์ความยั่งยืน
สาระความรู้

ดอกเบี้ยคงที่ VS ดอกเบี้ยลดต้นลดดอก ต่างกันอย่างไร

สำหรับใครที่กำลังยื่นกู้สินเชื่อไม่ว่าจะเป็น สินเชื่อทะเบียนรถ โฉนดที่ดิน บ้าน คอนโด เพื่อนำเงินก้อนไปใช้ในยามฉุกเฉิน แต่ยังไม่เข้าใจ ความแตกต่างระหว่างดอกเบี้ยคงที่ และดอกเบี้ยลดต้นลดดอก ว่าแต่ละแบบเป็นอย่างไร เราควรจะเลือกแบบไหนจึงจะเหมาะกับเราที่สุด วันนี้มีคำตอบ ความแตกต่างระหว่างดอกเบี้ยแบบคงที่กับดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก ดอกเบี้ยเงินกู้ที่เรารู้จักกันดี มี 2 ประเภท คือ กับดอกเบี้ยแบบคงที่ (Fixed Rate) กับ ดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก (Effective Rate) ซึ่งดอกเบี้ยแบบคงที่กับดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอกมีความแตกต่างกันดังนี้ ดอกเบี้ยแบบคงที่ คืออะไร? ดอกเบี้ยแบบคงที่ คือ อัตราดอกเบี้ยที่ผู้ให้กู้กำหนดไว้ตายตัว โดยจะไม่มีการปรับตลอดการทำสัญญา โดยคำนวณจากจำนวนเงินต้นที่ขอสินเชื่อ และนำมาหารกับจำนวนงวดที่ต้องจ่ายในอัตราการคิดดอกเบี้ยที่เท่ากันในแต่ละครั้งของการชำระหนี้ จนกว่าผู้ขอสินเชื่อจะจ่ายครบตามสัญญากู้ที่ได้ตกลงร่วมกันไว้ ข้อดี 1. อัตราดอกเบี้ยคงที่ สามารถวางแผนการใช้เงินได้ง่ายขึ้น 2. เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการจะผ่อนจ่ายไปเรื่อย ๆ ไม่รีบปิดยอด ดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก คืออะไร? ดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก คือ ดอกเบี้ยที่เปลี่ยนแปลงไปตามจำนวนเงินต้นที่ผู้ขอสินเชื่อได้ชำระในแต่ละงวด โดยดอกเบี้ยจะลดลงเรื่อย ๆ ตามเงินต้นที่ลดลง เนื่องจากถูกหักออกไปจากการชำระหนี้งวดก่อนหน้า ข้อดี 1. อัตราดอกเบี้ยที่เปลี่ยนแปลงไปตามจำนวนเงินต้นที่ผู้ขอสินเชื่อได้ชำระในแต่ละงวด โดย ดอกเบี้ยจะลดลงเรื่อย […]

อ่านเพิ่มเติม
สาระความรู้

5 วิธีการใช้เงินในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำ

ใครที่ยังไม่เคยเริ่มต้นวางแผนการเงินแบบจริงจัง เราว่าถึงเวลาแล้วละ ที่ต้องคิดใหม่ แล้วเริ่มหันมาวางแผนการเงินเพื่อมีสภาพคล่องไว้ใช้จ่ายในยามจำเป็น เศรษฐกิจแย่แบบนี้จะใช้เงินยังไงให้รอดได้ละ เราขอบอกว่าทำได้นะ ด้วย 5 วิธีต่อไปนี้ 1.เลือกลงทุนในทรัพย์สินที่ไม่เสี่ยงและลงทุนในหลายช่องทาง บางคนอาจคิดว่า อ้าว ก็เศรษฐกิจไม่ดีควรหรือที่จะลงทุน ลงทุนได้นะ แต่ควรเลือกลงทุน อย่างระมัดระวัง หากการฝากออมทรัพย์ให้ดอกเบี้ยต่ำเสียเหลือเกิน ลองเลือกฝากเงินแบบฝากประจำปลอดภาษีที่ให้ดอกเบี้ยสูงกว่า หรือเลือกลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลก็ยังได้ อย่างไรก็ดีการลงทุนล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นคุณควรศึกษาและทำความเข้าใจให้รอบครอบก่อนทำการลงทุนใดๆก็ตาม 2.เพิ่มช่องทางการหารายได้ให้มากขึ้น สำหรับคนที่ทำงานประจำแล้วละก็ คุณควรมีอาชีพเสริม หรือแหล่งหารายได้เพิ่มมากกว่า 1 ช่องทาง ที่นิยมทำมากที่สุด คงหนีไม่พ้นการขายสินค้าออนไลน์ และการทำงานฟรีแลนซ์ เช่น เป็นนักเขียน เป็นกราฟฟิค ดีไซเนอร์ หรือการขายของในตลาดนัดวันเสาร์อาทิตย์ แต่ก็ต้องไม่กระทบกับรายได้หลักของเราด้วยนะ   3. มีเครดิตไว้ถือว่าดี การเป็นคนมีเครดิตจะทำให้คุณสามารถทำธุรกรรมทางการเงินได้อย่างง่ายดาย มีความน่าเชื่อถือ หากมีเหตุให้ต้องกู้เงินกับสถาบันทางการเงิน ก็ผ่านได้โดยง่าย เช่น ต้องการเงินไปซ่อมบ้าน หรือมีค่าใช้จ่ายฉุกเฉิน ก็สามารถทำได้ทันที หากคุณถือบัตรเครดิตหรือมีสินเชื่อก็ไม่ควรผิดนัดชำระ เพื่อคงไว้ซึ่งความเป็นลูกค้าชั้นดีนั่นเอง  4. ใช้จ่ายให้น้อยลงและออมเงินให้มากขึ้น แน่นอนที่ว่าเศรษฐกิจตกต่ำแบบนี้ จะมาใช้จ่ายแบบเดิม ๆ อย่างกินข้าวนอกบ้านทุกวัน คงไม่ได้แล้ว ลองตัดค่าใช้จ่ายไม่จำเป็นเหล่านี้ออกไป คุณอาจพบว่ามีเงินเหลือให้เก็บเพิ่มมากขึ้นก็ได้นะ เช่น จากที่คุณเคยขึ้นแต่รถแท็กซี่ หรือขับแต่รถส่วนตัวไปทำงาน ก็หันมาใช้บริการรถประจำทาง หรือ BTS และ MRT แทน เปิดแอร์เฉพาะเวลาเข้านอนหรือช่วงที่อากาศร้อนจัดเท่านั้น ก็จะช่วยประหยัดค่าไฟฟ้าได้มากทีเดียว  […]

อ่านเพิ่มเติม
สาระความรู้

3 ขั้นตอนไม่ตกเป็นเหยื่อแก๊งหลอกลวงเงินกู้

โดยสามารถเช็ครายชื่อผู้ให้บริการสินเชื่อต่าง ๆ ที่ได้รับการอนุญาตให้ประกอบกิจการอย่างเป็นทางการได้ที่เว็บไซต์ ธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งรวบรวมรายชื่อบริษัทฯ ที่ให้บริการด้านสินเชื่อไว้ครบถ้วน อาทิ รายชื่อผู้ให้บริการสินเชื่อที่เป็นแบงก์และนอนแบงก์, รายชื่อผู้ให้บริการสินเชื่อส่วนบุคคลดิจิทัล และรายชื่อผู้ให้บริการระบบ Peer to Peer Lending Platform ซึ่งมีรวมกันกว่า 200 ราย แต่อย่างเพิ่งเชื่อทันที เพราะมิจฉาชีพก็จะใช้วิธีลอกเลียนแบบโลโก้ ไปเปิดเว็บไซต์ หรือห้องแชตต่างๆ เพื่อล่อลวงเช่นกัน ดังนั้นเพื่อความชัวร์ ควรติดต่อผู้ให้บริการนั้น ๆ ผ่านช่องทางที่เป็นทางการเช่นในแอปฯ หรือฝ่าย Callcenter จากเว็บไซต์ทางการของผู้ให้บริการเงินกู้ สินเชื่อ โดยตรง 2. มีสติอ่านเงื่อนไขให้ครบถ้วนอย่ารีบตัดสินใจสมัครทันที หากรู้สึกมีอะไรที่ไม่ชอบมาพากล เช่นการให้โอนเงินก่อนเป็นค่าธรรมเนียมในการขอกู้เงินหรือค่าดอกเบี้ยก่อนได้รับเงินต้น หรือการเสนอดอกเบี้ยที่แพงเกินกฎหมายกำหนด ไปจนถึงการขอเอกสารข้อมูลส่วนตัวที่มากมายเกินความจำเป็น ต้องตั้งสติและอย่ารีบตัดสินใจ เพราะเหยื่อหลายคนหลงโอน แต่เมื่อรู้ว่าไม่ได้เงินต้นสักบาทก็สายไปแล้ว แถมตามตัวไม่ได้ เพราะมิจฉาชีพมักให้คนอื่นเปิดบัญชีมาให้อีกทอดหนึ่ง 3. หากรู้ตัวว่าตกเป็นเหยื่อรีบแจ้งทันทีอย่ารอจนโจรลอยนวล หากตกเป็นเหยื่อแก๊งกู้เงิน ให้รีบติดต่อหรือปรึกษากับผู้ให้บริการหรือบริษัทฯ ต้นทางเพื่อสอบถามทันที และหากรู้ตัวว่าถูกหลอก ให้รีบแจ้งความกับตำรวจท้องที่ หรือร้องศูนย์ปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (ศปอส.ตร.) ทันที อย่าปล่อยไว้ บริษัท เมืองไทย แคปปิตอล จำกัด […]

อ่านเพิ่มเติม
สาระความรู้

เคล็ดลับ สินเชื่อทะเบียนรถ กู้ง่าย อนุมัติไว

วิธีที่รถของคุณจะสามารถใช้ทำเงินฉุกเฉินได้แบบราคาไม่ตก นั่นก็คือใช้รถ ยื่นกู้สินเชื่อ ซึ่งจะทำให้เรามีเงินก่อนใช้ฉุกเฉินและไม่ได้ราคาต่ำเหมือนกับการขายรถ ใช้รถยื่นกู้สินเชื่อต้องทำอย่างไร         การขอสินเชื่อทะเบียนรถนั้นอย่างแรกที่คุณต้องมีคุณสมบัตินี้ก็คือ คุณต้องเป็นเจ้าของรถ ไม่จำเป็นที่คุณจะต้องเป็นพนักงานประจำก็ได้แต่ต้องมีรายได้ที่แน่นอน จะเป็นอาชีพค้าขาย ขายของออนไลน์ ฯลฯ มีหลักฐานยืนยันรายได้ คุณก็สามารถขอสินเชื่อของคุณได้หมด และต่อไปนี้คือ เคล็ดลับสำคัญที่จะทำให้คุณยื่นกู้สินเชื่อให้ได้ง่าย และอนุมัติไว 1. เปรียบเทียบข้อเสนอที่ดีที่สุด การสินเชื่อทะเบียนรถนั้นมีหลายสถาบันการเงิน ทั้งที่เป็นธนาคารและไม่ใช่ธนาคารที่รับให้สินเชื่อทะเบียนรถ ซึ่งถ้าคุณต้องการข้อเสนอที่ดีที่สุด อนุมัติง่ายและไว คุณต้องพิจารณาสินเชื่อจากหลายแพคเกจ เพื่อเปรียบเทียบข้อเสนอต่าง ๆ จากทุกที่ว่ามีที่ไหน ที่ให้ข้อเสนอที่คุ้มค่าที่สุด และมีข้อกำหนดในการอนุมัติที่ง่ายและไวที่สุด  2. ต่อรองทีละหลายที่ อีกเทคนิคหนึ่งที่ผู้ที่ต้องการขอสินเชื่อต้องรู้ไว้ก็คือ เมื่อคุณเปรียบเทียบข้อเสนอจากทุกที่แล้ว ก็ถึงเวลาที่คุณจะโทรไปพูดคุยขอข้อมูลของแต่ละที่ ย้ำว่าเลือกข้อเสนอที่คุณพอใจสักสองสามที่และโทรไปทุกที่ ไม่จำเป็นต้องปิดบังว่าคุณก็กำลังพิจารณาข้อเสนอจากที่อื่นอยู่เช่นกัน เมื่อรู้ว่าลูกค้ากำลังพิจารณาของที่อื่นอยู่ด้วย รับรองว่าคุณจะได้ข้อเสนอดี ๆ เข้ามาแข่งจากเซลล์แน่นอน อย่าเพิ่งรีบตัดสินใจ ขอจากทุกที่ให้ยื่นข้อเสนอที่ดีที่สุดให้ได้ไม่ต้องเกรงใจ 3. รถไม่ติดไฟแนนซ์ การที่รถของคุณยังติดไฟแนนซ์ถามว่าจะยื่นกู้รีไฟแนนซ์ได้หรือไม่ คำตอบก็คือ “ไม่ได้” ต้องเป็นรถปลอดภาระถือกรรมสิทธิ์ในการครอบครองอย่างน้อย 15 วันขึ้นไป ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของสาขา และเป็นรถของคุณเองมีทะเบียนถูกต้อง วิธีการนี้จะทำให้การขอสินเชื่อง่ายและรวดเร็ว […]

อ่านเพิ่มเติม
  • สินเชื่อ
    • สินเชื่อทะเบียนรถจักรยานยนต์
    • สินเชื่อทะเบียนรถยนต์ทุกประเภท
    • สินเชื่อโฉนดที่ดิน/บ้าน/คอนโด
    • สินเชื่อส่วนบุคคล/ส่วนบุคคล(ทั่วไป)
    • สินเชื่อนาโนไฟแนนซ์
    • สินเชื่อเช่าซื้อรถจักรยานยนต์
    • สินเชื่อเพย์ เลเทอร์ สินค้าทั่วไป
    • สินเชื่อเพย์ เลเทอร์ สินค้าเกษตร
    • สินเชื่อทะเบียนรถเพื่อการเกษตร
  • ประกันและพรบ.
    • ต่อ พ.ร.บ. ฟรีค่าธรรมเนียม
    • ประกันภัยอุบัติเหตุ ราคาถูก
  • บทความ
    • สาระความรู้
    • การบริหารจัดการหนี้
    • ไลฟ์สไตล์
    • ความยั่งยืน
  • หน้าอื่นๆ
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ติดต่อเรา
    • ข่าวสารและกิจกรรม
    • นักลงทุนสัมพันธ์
    • กำหนดการประมูล
    • เปิดเผยข้อมูล
    • คำนวณค่างวดจากประเภทสินเชื่อ
    • ค้นหาสาขา
    • ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม

ติดต่อเรา

1455

ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน

google play app store

มาตรฐานรับรอง

สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ว00008/2554
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

ร่วมใจต่อต้านคอร์รัปชัน

นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล นโยบายคุกกี้
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2565 บริษัท เมืองไทย แคปปิตอล จำกัด (มหาชน)